วันจันทร์ที่8 ก.ค. 2556
บันทึกการเรียน
-อาจารย์ให้ทำเทคนิคภาพเคลื่อนไหวโดยพับกระดาษแบ่งให้ได้8แผ่นเล็กๆ แล้วนำมาตัดออก และวาดรูปลงไปในแผ่นกระดาษนั้น ให้มีลักษณะเคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ โดยภาพที่ดิฉันได้วาดนั้นเป็นภาพของเด็กผู้หญิง และมีเม็ดฝนกำลังตกลงมา แผ่นสุดท้ายก็มีเด็กผู้ชายมากางร่มให้ด้วยคะ
นี่เป็นภาพนิ่งทั้ง8ภาพที่ดิฉันวาด>>
ภาพที่1
ภาพที่2
ภาพที่3
ภาพที่4
ภาพที่5
ภาพที่6
ภาพที่7
ภาพที่8
และนี่เป็นภาพที่ดิฉันนำมาตัดแต่งรวมกันให้เป็นภาพเคลื่อนไหวค่ะ
*หลักการที่ทำให้เกิดเป็นภาพเคลื่อนไหว
การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลายๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือ คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือ หรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด หรือ สตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา
ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่นๆ
ตัวอย่าง
แอนิเมชันแสดง 6 เฟรมต่อเนื่องกัน
เมื่อนำมาฉายต่อเนื่องกันจะเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น